อุปกรณ์อำนวยความสะดวก Smoke Check และถอด Smoke Detector
Smoke Check Facility and Smoke Detector
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้
มีจุดประสงค์ 1) เพื่อออกแบบและสร้างชุดอำนวยความสะดวก Smoke Check และถอด Smoke Detector 2 )
เพื่อหาประสิทธิภาพของอุปกรณ์อำนวยความสะดวก Smoke Check และถอด
Smoke Detector เกี่ยวกับแบบโครงสร้าง
โดยมีผู้เชียวชาญกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างจานวน
5 ท่าน โดยช่างเทคนิคของ บริษัท พร้อมเทคโนเซอร์วิส จากัด
หน่วยงานศาลปกครอง โดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า มีความเหมาะสม
และความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมาก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
การประเมินของผู้เชียวชาญพบว่าอุปกรณ์อำนวยความสะดวก Smoke Check สามารถทำเวลาได้โดยเฉลี่ย 0.14 นาที ต่อการกด 1 ครั้ง ค่าเฉลี่ยของการทำสอบ 0.14 นาที
เฉลี่ยการทดสอบแบบการใช้คนขึ้นไปฉีด Smoke
Check ทำเวลาดีที่สุดคือ 0.29นาที และอุปกรณ์ถอด Smoke
Detector ทำการทดสอบจำนวน 5 ครั้ง พบว่าการทดสอบจากแบบเก่านั้นใช้เวลาคิดเป็นค่าเฉลี่ย
จำนวน 5 ครั้ง คือ 0.39 นาที และใช้อุปกรณ์อำนวยความสะดวก Smoke Check ทดสอบ จำนวน 5 ครั้ง ค่าเฉลี่ยของการทำสอบ 0.13 นาที ความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 4 และความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.6 ในค่าความเหมาะสมความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ
4 และความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.6 ในค่าความเหมาะสม
ความเหมาะสมของชิ้นงานได้ค่าเฉลี่ย 4.4 อยู่ในระดับมาก และความเป็นไปได้อยู่ในระดับ
4.8 อยู่ในระดับมากที่สุดและหลังจากการทดสอบทั้งหมด 5 ครั้ง
The objective of this
research were 1) to design and construct a smoke check
facility and smoke detector 2) to find the efficiency of
the smoke check facility and smoke detector. Data were
analyzed by percentage, mean and standard deviation. The
samples were 5 experts from Prom Techno Service Limited.
The results of the
research showed that a smoke check facility and smoke detector was
at a high level which trailed 5 times (0.39 minutes for the old model and
0.13 minutes for Smoke Check and Smoke Detector Facility )
Keywords:
Smoke
Check Facility and Smoke Detector
Article Details
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
[1] นายณัฐนันท์
ปานานนท์ ( 2560 : บทคัดย่อ ).
ประเภทหลอดไฟที่ใช้กับไม้ใส่-ถอดหลอดไฟภายในอาคาร
วิทยาลัยเทคนิคพิษณุโลก
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3
[2] (นายปฏิภาณ
หลักทอง) ( 2562 : เนื้อหาข้อมูล).
ไม้เปลี่ยนหลอดไฟ
วิทยาลัยเทคนิคพิษณุโลก
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3
[3]
(ภาณุวัฒน์ ปัญญา) ( 2562 : เกณฑ์การประเมิน ).
ไม้ถอดและตรวจสอบอุปกรณ์ตรวจจับควัน
วิทยาลัยเทคนิคพิษณุโลก
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3