ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (วงจรสตาร์เดลต้า)
ELECTRIC MOTROR CONTROL EXPERIMENT KIT (STAR-DELTA CIRCUIT)
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์
(1) เพื่อออกแบบและพัฒนาชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (วงจรสตาร์เดลต้า) (2)
เพื่อศึกษาประสิทธิภาพชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (วงจรสตาร์เดลต้า) (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า
(วงจรสตาร์เดลต้า) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ พนักงาน บริษัท
พร้อม เทคโนเซอร์วิส จำกัด จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า แบบบันทึกการใช้งาน และ แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย
และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า(วงจรสตาร์เดลต้า) พบว่า
สามารถใช้ทดลองวงจรสตาร์ทโดยตรง กลับทางหมุน เรียงลำดับ และสตาร์-เดลต้า และผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า
ความพึงพอใจต่อการใช้ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า(วงจรสตาร์เดลต้า) พบว่า
ภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ย 3.68 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.53
The
objectives of this study were 1) to develop Electric Motor Control Device (Star
Delta Circuit), 2) to study the efficiency of this invention, 3) to study the
users’ satisfaction. The researchers designed the efficiency in connecting
reverse forward circuit, direct start circuit, sequence circuit and star delta
circuit and it was evaluated by the experts. The questionnaires were answer by
10 users who experimented this invention. The instrument used was the
questionnaire of satisfaction. Data were analyzed by mean and standard
deviation.
The findings of this study showed that
1) the development of this invention on designing, working performance and
value were suitable, 2) This invention could operate effectively and 3) the
satisfaction of the users was at the “much” level (mean= 3.68, S.D= 0.53)
Article Details
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
[1] ณธรรม เกิดสำอาง, และคณะ.ออกแบบสร้างอินเวอร์เตอร์ 3 ระดับแรงดัน สำหรับ การควบคุมมอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/kbej/article/view/74641
[2] กองพล อารีรักษ์.
การควบคุมความเร็วของรถไฟฟ้าแหล่งพลังงานของระบบใช้
แบตเตอรี[ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก
http://stdb.most.go.th/scientist_detail.aspx?id=5716
[3] ไวยพจน์ ศุภบวรเสถียร และ วิภาวัลย์ นาคทรัพย์.
การควบคุมความเร็วรอบของ อินดักชันมอเตอร์โดยใช้วิธีการสร้างแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับให้มีความถี่. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
[4] รองศาสตราจารย์ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์
ได้วิจัยเกี่ยวกับรถขับเคลื่อนด้วย แบตเตอรี่ ไฟฟ้า มีใช้งานกันอย่างกว้างขวาง.[ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก https://core.ac.uk/download/pdf/70945772.pdf
[5] ไวยพจน์ ศุภบวรเสถียร และ วิภาวัลย์ นาคทรัพย์.
(2558). การควบคุมความเร็ว รอบของอินดักชัน
มอเตอร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://research-system.siam.edu/
(2 ตุลาคม 2562)