การพัฒนาระบบบริหารวัสดุคงคลัง กรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วนจำกัด มณีอิเล็กทรอนิกส์
THE DEVELOPMENT OF MATERIAL INVENTORY SYSTEM CASE STUDY OF MANEE ELECTRONICS PARTNERSHIP LIMITED
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบบริหารวัสดุคงคลัง กรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วนจำกัดมณีอิเล็กทรอนิกส์
2) หาประสิทธิภาพของระบบบริหารวัสดุคงคลัง และ 3) ศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่มีต่อระบบบริหารวัสดุคงคลัง
กรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วนมณีอิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้วิจัยได้ พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน และพนักงาน
ของบริษัทที่ใช้งานระบบ จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้งานวิจัย ได้แก่ ระบบบริหารวัสดุคงคลัง และแบบสอบถามความคิดเห็น
ของผู้เชี่ยวชาญและผู้ใช้งานระบบที่ผ่านการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง ข้อคำถามและวัตถุประสงค์ (IOC) เท่ากับ 0.89
สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2) หาประสิทธิภาพของระบบบริหารวัสดุคงคลัง และ 3) ศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่มีต่อระบบบริหารวัสดุคงคลัง
กรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วนมณีอิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้วิจัยได้ พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน และพนักงาน
ของบริษัทที่ใช้งานระบบ จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้งานวิจัย ได้แก่ ระบบบริหารวัสดุคงคลัง และแบบสอบถามความคิดเห็น
ของผู้เชี่ยวชาญและผู้ใช้งานระบบที่ผ่านการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง ข้อคำถามและวัตถุประสงค์ (IOC) เท่ากับ 0.89
สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่าครั้งนี้พบว่าประสิทธิภาพของระบบบริหารวัสดุคงคลังในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.56) และระดับความคิดเห็นของกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่มีต่อระบบในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
(ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.73 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.43) ผลการตรวจสอบความถูกต้องโดยตรวจสอบตามความต้องการของ
ระบบ ด้วยวิธีการกล่องดำ (Black Box Testing) พบว่าระบบบริหารวัสดุคงคลังสามารถทำงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.56) และระดับความคิดเห็นของกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่มีต่อระบบในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
(ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.73 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.43) ผลการตรวจสอบความถูกต้องโดยตรวจสอบตามความต้องการของ
ระบบ ด้วยวิธีการกล่องดำ (Black Box Testing) พบว่าระบบบริหารวัสดุคงคลังสามารถทำงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์
The purpose
of this study is for 1) Development Inventory management system case study of Manee
Electronics Partnership Limited. 2) Find the efficiency of the inventory
management system case study of Manee Electronics Partnership Limited. And 3) Study
the opinions of the information providers regarding the inventory management
system case study of Manee Electronics Partnership Limited. the researcher
developed into a sample group of experts 5 experts, and inquire about the satisfaction of staff using the system. When asking
information from a group of 10 people, that both questionnaires were evaluated
of Item Objective Congruence Index: IOC is equal to 0.89. The statistics used
are Average, Percentage and Standard deviation.
The results
of this study showed that the overall efficiency of the inventory management
system was at a high level. (the average is 3.91
and the standard deviation is 0.56) And overall
satisfaction with the inventory management system is at the highest level. (The average is 4.73 and the standard deviation is 0.43) The
result of a validation check by checking the system requirements Inventory
management system: a case study of Manee Electronics Partnership Limited, with
methods Black Box Testing, found that the inventory management system can
function according to the objectives and Interface design of every assessment
item.
Article Details
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
เอกสารอ้างอิง
[1] ดวงพร เกี๋ยงคำ. (2560). คู่มือออกแบบและสร้างเว็บไซต์ ฉบับสมบูรณ์. นนทบุรี:
ไอดีซี พรีเมียร์.
[2] ชาญชัย ศุภอรรถกร. (2561). สร้างเว็บแอปพลิเคชัน PHPMySQL. นนทบุรี:
ซิมพลิฟาย.
[3] บัญชา ปะสีละเตสัง. (2562). พัฒนา Web Application ด้วย PHP และ MariaDB.
กรุงเทพ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[4] phpBB Creating Communities. (2557). วิธีการทดสอบ (white box, black
box) Software Testing”, MINDPHP. สืบค้น 17 กุมภาพันธ์ 2563,
จาก http://www.mindphp.com/forums/viewtopic.php?t=22045.
[5] ศิริเรือง พัฒน์ช่วย. (2552). การพัฒนาต้นแบบระบบคลังวัสดุ กรณีศึกษา กองคลัง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
[6] รัตนพล นาคสังข์ และจินดาพร อ่อนเกตุ. (2560). การพัฒนาระบบยืม-คืนวัสดุ
และครุภัณฑ์ โรงเรียนบ้านมอสมบูรณ์มิตรภาพที่ 186. ในการประชุมวิชาการ
ระดับชาติ ครั้งที่ 4 สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
(1261-1272). กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
[7] วิวัฒน์ อนันต์ชัยลิขิต วสันต์ หนังสือ และ กฤษฎา ด่านประสิทธิ์พร. (2559).
ระบบการจัดการงานวัสดุก่อสร้างบริษัท ธ. เทรดดิ้ง จำกัด. ในงานประชุมวิชาการ
ระดับชาติ การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
[8] โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2555). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System analysis
and design. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[9] วนิดา วาดีเจริญ รังสรรค์ เลิศในสัตย์ และสมบัติ ทีฆทรัพย์. (2560). ระเบียบวิธีวิจัย
จากแนวคิดทฤษฎีสู่ภาคปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น
ไอดีซี พรีเมียร์.
[2] ชาญชัย ศุภอรรถกร. (2561). สร้างเว็บแอปพลิเคชัน PHPMySQL. นนทบุรี:
ซิมพลิฟาย.
[3] บัญชา ปะสีละเตสัง. (2562). พัฒนา Web Application ด้วย PHP และ MariaDB.
กรุงเทพ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[4] phpBB Creating Communities. (2557). วิธีการทดสอบ (white box, black
box) Software Testing”, MINDPHP. สืบค้น 17 กุมภาพันธ์ 2563,
จาก http://www.mindphp.com/forums/viewtopic.php?t=22045.
[5] ศิริเรือง พัฒน์ช่วย. (2552). การพัฒนาต้นแบบระบบคลังวัสดุ กรณีศึกษา กองคลัง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
[6] รัตนพล นาคสังข์ และจินดาพร อ่อนเกตุ. (2560). การพัฒนาระบบยืม-คืนวัสดุ
และครุภัณฑ์ โรงเรียนบ้านมอสมบูรณ์มิตรภาพที่ 186. ในการประชุมวิชาการ
ระดับชาติ ครั้งที่ 4 สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
(1261-1272). กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
[7] วิวัฒน์ อนันต์ชัยลิขิต วสันต์ หนังสือ และ กฤษฎา ด่านประสิทธิ์พร. (2559).
ระบบการจัดการงานวัสดุก่อสร้างบริษัท ธ. เทรดดิ้ง จำกัด. ในงานประชุมวิชาการ
ระดับชาติ การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
[8] โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2555). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System analysis
and design. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[9] วนิดา วาดีเจริญ รังสรรค์ เลิศในสัตย์ และสมบัติ ทีฆทรัพย์. (2560). ระเบียบวิธีวิจัย
จากแนวคิดทฤษฎีสู่ภาคปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น