ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (วงจรสตาร์ทโดยตรง)
ELECTRIC MOTROR CONTROL EXPERIMENT KIT (DIRECT START CIRCUIT)

Main Article Content

น้ำตาล แหล้ทอง

บทคัดย่อ

         งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อออกแบบและพัฒนาชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (วงจรสตาร์ทโดยตรง) (2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (วงจรสตาร์ทโดยตรง) (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (วงจรสตาร์ทโดยตรง) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ พนักงาน บริษัท พร้อม เทคโนเซอร์วิส จำกัด จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า แบบบันทึกการใช้งาน และ แบบสอบถามความพึงพอใจ  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน      
            ผลการวิจัยชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า(วงจรสตาร์ทโดยตรง) พบว่า สามารถใช้ทดลองวงจรสตาร์ทโดยตรง กลับทางหมุน เรียงลำดับ และสตาร์-เดลต้า และผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า(วงจรสตาร์ทโดยตรง) พบว่า ภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ย 3.96 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.56

       The purposes of this research were to 1) develop the invention; electric motor control kit (Direct Start Circuit), 2) to study the quality of the invention, and 3) to evaluate the satisfaction of users. The 10 samples were staff of Prompt Techno Service Co., Ltd. The research tools composed of electric motor control kit (Direct Start Circuit), and evaluation form of quality and satisfaction. Data was statistically analyzed by mean and standard deviation.
          The results of this research found that the invention could be operated with reverse – forward circuit, direct start circuit, sequenced circuit, and star – delta circuit. The invention could be used effectively, and the users satisfied the invention at the “much” level. (mean = 3.96, S.D.= 0.56)

Article Details

ประเภทบทความ
บทความวิจัย

เอกสารอ้างอิง

เอกสารอ้างอิง
 
 
 
[1] กองพล อารีรักษ์. (2558). การควบคุมความเร็วของรถไฟฟ้าแหล่งพลังงานของ      ระบบใช้แบตเตอรี่.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก                                         http://stdb.most.go.th/scientist_detail.aspx?id=6694
[2] กองพัน อารีรักษ์.  (2556). การออกแบบตัวควบคุมสำหรับวงจรควบคุมความเร็ว   รอบของมอเตอร์.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก  http://eng.sut.ac.th/ee/wordpress/
[3] ชลวิทย์ เผือกผาสุก. (2556). ระบบการควบคุมมอเตอร์รถไฟฟ้า DC. [ออนไลน์].   เข้าถึงได้จาก http://newtdc.thailis.or.th/
[4] ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์. (2560). รถขับเคลื่อนด้วยแบตเตอรี่ไฟฟ้า.[ออนไลน์].     เข้าถึงได้จาก http://stdb.most.go.th/scientist_detail.aspx?id=5724
[5] ไวยพจน์ ศุภบวรเสถียร และ วิภาวัลย์ นาคทรัพย์. (2558). การควบคุมความเร็ว    รอบของอินดักชัน มอเตอร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
      http://research-system.siam.edu/ (2 ตุลาคม 2562)