เครื่องทดสอบอัลเทอร์เนเตอร์และมอเตอร์สตาร์ท
Alternator and motor starter testers

Main Article Content

วีรพล ชัยวงค์1 อุเทน โปยขุนทด2 ชนะ แตงคง3

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างเครื่องทดสอบอัลเทอร์เนเตอร์และมอเตอร์สตาร์ท 2) เพื่อหาประสิทธิภาพเครื่องอัลเทอร์เนเตอร์และมอเตอร์สตาร์ทที่สร้าง
กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ผลการวิจัยพบว่าประสิทธิภาพของเครื่องทดสอบอัลเทอร์เนเตอร์และมอเตอร์สตาร์ทที่ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน มีค่าอยู่ในระดับดีมาก (x = 4.73, S.D. = 0.41) โดยที่ผลการประเมินระดับคุณภาพชุดการสอนอยู่ในระดับดีมาก 

The objectives of this research were to 1) design and create the invention; alternator and starting motor tester, 2) evaluate the quality of the invention.
The target group included 5 experts. The research instruments were alternator and starting motor tester, evaluation form of quality. Data was analyzed by percentage, mean, and standard deviation.The results of the research found that 1) the invention could be operated  properly at the average of 4.73 and S.D. was 0.41. The users satisfied the invention at the “most” level.  

Article Details

ประเภทบทความ
บทความวิจัย

เอกสารอ้างอิง

[1]  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556. [Serial online]; http://wkd-electric.com.       ( สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2562 )
[2]  การวัดและประเมินผล.[Serial online]; www.onesqa.or.th.com.( สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2562)
[3] ธนพนธ์ พรมราช. (2556). เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดเคชั่น
[4]  ชาญชัย ทองประสิทธิ์ และวีละ ทองประสิทธิ. (2541). ไฟฟ้ารถยนต์1. กรุงเทพ: พัฒนาวิชาการ
[5] มอเตอร์ไฟฟ้า. [Serial online]; http://www.chokbuncha.com. ( สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2562)
[6] สายพานลิ่ม. [Serial online]; eng.rmutp.ac.th/web2558/wp-content.com.
( สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2562 )
[7]  สุรพล คำนวณศักดิ์. การสร้างและหาประสิทธิภาพของชุดจำลองสถานการณ์ของข้อขัดข้องของระบบจุดระเบิดแบบอิเล็กทรอนิกส์ในรถยนต์.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ; 2546.
[8] เพื่อชาติ สุขเรือน. การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดปฏิบัติการวิชาอิเล็กทรอนิกส์.วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ; 2547.
[9]  จำรูณ ตันติพัศาลกุล. (2542). การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล2. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น
ชาญชัย ทองประสิทธิ์ และวีละ ทองประสิทธิ. (2541). ไฟฟ้ารถยนต์1. กรุงเทพ: พัฒนาวิชาการ