ชุดสาธิตเปิด-ปิดไฟฟ้าแสงสว่างด้วยการเคลื่อนไหวและแจ้งผ่านแอพพลิเคชั่น Line
Demonstration set to turn on-off the electric light with movement and alert through the Line application
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบและสร้างชุดสาธิตเปิด-ปิดไฟฟ้าแสงสว่างด้วยการเคลื่อนไหวและแจ้งเตือนผ่านแอพพลิเคชั่น Line 2) เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดสาธิตเปิด-ปิดไฟฟ้าแสงสว่างด้วยการเคลื่อนไหวและแจ้งเตือนผ่านแอพพลิเคชั่น Lineทั้งนี้ในการประเมินผลจะใช้ผู้เชี่ยวชาญประมาณ 5คน จากหน่วยงานสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ โดยมีการประเมินและทดสอบประสิทธิภาพของเซ็นเซอร์ตรวจสอบสถานการทำงานแจ้งเตือนผ่านLine เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ เซ็นเซอร์ แอพพลิเคชั่น Line และแบบทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพ โดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย มาตรฐานเบี่ยงเบน ค่าร้อยละ
ผลการศึกษาพบว่า ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญพบว่า ความเหมาะสมของระบบอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ4.00การหาประสิทธิภาพของชุดสาธิตเปิด-ปิดไฟฟ้าแสงสว่างด้วยการเคลื่อนไหวและแจ้งเตือนผ่านแอพพลิเคชั่น Lineพบว่า การทดสอบเซ็นเซอร์ทั้งหมดจำนวน 80 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 76 %และการทดสอบหาประสิทธิภาพการส่งสัญญาณเตือนผ่านแอพพลิเคชั่น Line พบว่า การแจ้งเตือนสถานะ On/Off ทั้งหมดจำนวน5 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ100% The objectives of this research were 1) to design and build a set of electric light on-off demonstration by movement and notification via application line 2) to determine the effectiveness of the light-on-off demonstration kit with electric motion and alert via application line. The sample consisted of five people.The research instruments were composed of Australian Teaching Method, Learning Achievement Test and Satisfaction Evaluation form. Data were analyzed using the average by means and standard deviation.
The research finding found that the efficiency of Australian Learning Method was 76/76 which was according to standard criteria 80/80, the students satisfied the Australian Learning Method at the level of “Most” (x= 4.33)
Article Details
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
[2] กันต์ ศิริงามเพ็ญ. (2541). ควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้าด้วยมือถือผ่านบลูทูธ. คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. [ออนไลน์], เข้าถึง: www.scimath.org
[3] อภินันท์ จันตะนี. (2547). การใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับวิทยานิพนธ์ทางธุรกิจพระนครศรีอยุธยา.มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. [ออนไลน์], เข้าถึง: http://etheses.aru.ac.th
[4] สรกฤช สิริปรีดากุลและพิมลลักษณ์ จิรกุลกนก. (2551). พัฒนาระบบควบคุมไฟฟ้าโดยใช้ Zigbeeมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.[ออนไลน์], เข้าถึง: http://www.tatc.ac.th
[5] ชาริณี ชาญดนตรีกิจ และณัฐการ สืบบุก. (2553). ระบบควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้าผ่านอินเตอร์เน็ต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. [ออนไลน์], เข้าถึง: http://www.research.rmutt.ac.th