ชุดทดลองการควบคุมมมอเตอร์ไฟฟ้า(วงจรเรียงลำดับ)
ELECTRIC MOTOR CONTROL EXPERIMENT KIT (SEQUENTIAL CIRCUIT)
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์
(1) เพื่อพัฒนาชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (วงจรเรียงลำดับ) (2)
เพื่อศึกษาประสิทธิภาพชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (วงจรเรียงลำดับ) (3)
เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (วงจรเรียงลำดับ)
การศึกษาประสิทธิภาพโดยการทดลองและประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ที่ใช้งานชุดฝึกการต่อวงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า
(วงจรเรียงลำดับ) เป็นพนักงาน บริษัท พร้อม เทคโนเซอร์วิส จำกัด จำนวน 10 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบบันทึกการใช้งาน และ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า
(วงจรเรียงลำดับ) ที่ถูกประกอบในกระเป๋าอลูมิเนียม
มีอุปกรณ์ที่ใช้ทดลองวงจรการควบคุมมอเตอร์ได้ มีความปลอดภัย
เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ผ่านการเห็นชอบของผู้เชี่ยวชาญ 2)
ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า(วงจรเรียงลำดับ) สามารถใช้งานได้ จากการต่อวงจร 4 รูปแบบ และมีสื่อช่วยเสริมให้ต่อวงจรได้รวดเร็วขึ้น แสดงว่ามีประสิทธิภาพ 3)
ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า(วงจรเรียงลำดับ)
พบว่า ภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ย 4.41
Abstract
The
objectives of the study were to 1) develop electric motor control device
(Sequence circuit), 2) determine the efficiency of this invention and 3) study
the user’s satisfaction. The researchers designed this invention and it was
assessed by the specialists to find the efficiency of the reverse-forward
circuit, direct start circuit, sequence circuit, and star-delta circuit. The
satisfaction was assessed by ten technicians from Prompt techno Service Company
Limited. The research tools were electric motor control
device (Sequence circuit) and questionnaires. Data were analyzed by mean and
standard deviation.
The research finding found that the innovation’s
design, working performance and the value was appropriate. The innovation could
be operated effectively and the satisfaction was at the “much” level. (mean=
4.4, S.D. =0.59)
Article Details
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
[1] ไวยพจน์
ศุภบวรเสถียร และ คณะ.(2558).ได้วิจัยการควบคุมความเร็วรอบของอินดักชันมอเตอร์.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://research-system.siam.edu/
[2] กองพัน
อารีรักษ์. (2556).
การออกแบบตัวควบคุมสำหรับวงจรควบคุมความเร็ว รอบรถไฟฟ้า.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://eng.sut.ac.th/ee/wordpress/
[3] กองพัน
อารีรักษา.(2556).
ได้ออกแบบตัวควบคุมแบบเหมาะที่สุดสำหรับระบบ ขับเคลื่อนมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://newtdc.thailis.or.th/
[4] ธนัดชัย
กุลวรวานิชพงษ์. (2560). รถขับเคลื่อนด้วยแบตเตอรี่ไฟฟ้า.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttp://stdb.most.go.th/scientist_detail.aspx?id=5724
[5] ณธรรม
เกิดสำอาง และ คณะ.(2555 ).ได้ออกแบบสร้างอินเวอร์เตอร์ 3 ระดับแรงดัน
สำหรับการควบคุมมอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
[6] นลินี
หมู่หมื่นศรและคณะ.(2557).ได้จําลองความร้อนและการสูญเสียทางไฟฟ้าใน มอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนํา.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก https://gsbooks.gs.kku.ac.th/
[7] บุญญฤทธิ์
วังงอนและคณะ (2558) ได้วิจัยเกี่ยวกับความเสียหายของมอเตอร์ เหนี่ยวนำ
3เฟส ในโรงสีข้าวชุมชน.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://hrd.rmutl.ac.th/