ชุดสาธิตตู้เก็บเครื่องมือสแกนลายนิ้วผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์
Damonstraion set of finger scan tool storage cabinet through application line

Main Article Content

ชัยณรงค์ รอดคง

บทคัดย่อ

           บทคัดย่อ     
           การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 วัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อออกแบบและสร้างชุดสาธิตตู้เก็บเครื่องมือสแกนลานมือนิ้วมือผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดสาธิตตู้เก็บเครื่องมือสแกนลานมือนิ้วมือผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์  โดยเครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลมี 2 แบบคือ 1. แบบประเมิน โดยผ่านผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่านจากหน่วยงานพร้อมเทคโนเซอร์วิส เดาะปาร์ชิดลม(PCL) ตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้  2. แบบการหาประสิทธิภาพของชุดสาธิตตู้เก็บเครื่องมือสแกนลานมือนิ้วมือผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์  การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
จากการศึกษาพบว่า ชุดสาธิตตู้เก็บเครื่องมือสแกนลานมือนิ้วมือผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ ในส่วนของแบบประเมิน โดยผ่านผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการออกแบบ จากการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 5 ท่าน ผลที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญด้านความเหมาะสมของการออกแบบโครงสร้าง มีค่าเฉลี่ย 4.47 อยู่ในระดับมาก ด้านความเป็นไปได้ของการออกแบบโครงสร้าง แบบวงจรควบคุมและผังการทำงานมีค่าเฉลี่ย 4.67 อยู่ในระดับมากที่สุดส่วนผลการทำงานของชุดสาธิตตู้เก็บเครื่องมือสแกนนิ้วผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ สามารถทำงานได้ตรงตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ทั้งหมด จากการทดสอบหาค่าประสิทธิภาพเฉลี่ยโดยทำทดสอบเป็น 5 ครั้ง ผลสำเร็จ เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยจะได้ค่าความแม่นยำรวมอยู่ที่ 95% อยู่ในระดับมากที่สุด 

Abstract
          The objectives of this research were 1.) to design and build a toolkit for fingerprint scanner tool storage cabinet through application line 2.) to determine the effectiveness of toolkit for fingerprint scanner tool storage cabinet through application line.The sample consisted of five people. The research instruments were composed of an assessment form in examining its suitability and feasibility, Australian Teaching Method, Learning Achievement Test and Satisfaction Evaluation form. Data were analyzed by means and standard deviation
The research finding found that the efficiency of Australian Learning Method was 95/95 which was according to the standard criteria 80/80, the students satisfied the Australian Learning Method at the level of “Much” (  = 3.40)  

Article Details

ประเภทบทความ
บทความวิจัย

เอกสารอ้างอิง

เอกสารอ้างอิง
[1] นาย ขันแก้ว สมบูรณ์ (2552-2554:บทคัดย่อ)ความคุ้มค่าของการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการคณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
[2] เสาวนีย์ เทียมเมือง(2547:ผลของการดำเนินงาน) การควบคุมการใช้วัสดุและอุปกรณ์ในสำนักงาน กรณีศึกษา เครื่องพิมพ์ หมึกพิมพ์ และกระดาษพิมพ์บันฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาการจัดการคณะบริหารธุรกิจ,มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย