เซ็นเซอร์ตรวจจับน้ำท่วมและส่งสัญญานผ่านไลน์
Flood sensor and transmit signals via LINE

Main Article Content

ก้องภิภพ พรมทอง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบและสร้างเซ็นเซอร์ตรวจจับน้ำท่วมและส่งสัญญาณผ่านไลน์2) เพื่อหาประสิทธิภาพของเซ็นเซอร์ตรวจจับน้ำท่วมและส่งสัญญาณผ่านไลน์ทั้งนี้ในการประเมินผลจะใช้ผู้เชี่ยวชาญจํานวน 5 คนจากหน่วยงานลิเบอร์ตี้สีลม โดยมีการประเมินและ ทดสอบประสิทธิภาพของเซ็นเซอร์ตรวจสอบระดับน้ำเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่เซ็นเซอร์ตรวจจับน้ำท่วมและส่งสัญญาณผ่านไลน์และแบบทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพ โดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
ผลการวิจัยพบว่า การหาค่าเฉลี่ยโดยทำการแจ้งเตือนผ่านไลน์เป็น 5 ระดับ ได้แก่ 1)10% 2)30% 3)50% 4)70% และ 5)100%จากการทดลองปรับ 5 ระดับ ระดับละ 10 ครั้ง ออกมาเป็นค่าเฉลี่ยของแต่ละครั้งที่ทำการทดลอง และทำการทดลองโดยทำการแจ้งเตือนด้วยสัญญาณไฟAlarm เป็น 5 ระดับ ได้แก่ 1)10% 2)30% 3)50% 4)70% และ 5)100%จากการทดลองปรับ 5 ระดับ ระดับละ 10 ครั้ง พบว่าประสิทธิภาพความแม่นยำของเซ็นเซอร์ตรวจจับน้ำท่วมและส่งสัญญาณผ่านไลน์การแจ้งเตือนด้วยสัญญาณไฟAlarm เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยจะได้ค่าความแม่นยำรวมอยู่ที่ 100% อยู่ในระดับมากที่สุด และประสิทธิภาพความแม่นยำของเซ็นเซอร์ตรวจจับน้ำท่วมและส่งสัญญาณ

The objectives of this research were to 1) design and build a flood detection sensor and transmit signalsvia LINEapplication2) the effectiveness of flood detection sensors.5 experts were using from Silom Liberty, Bangkok.The research instruments were composed of a flood detection sensor and an efficiency test.Data analyzed by mean , standard deviation (S.D.) and percentage.
The research found that the efficiency of a flood detector sensor was at the highest level (98.32%) by trialing via line into 5 levels 10 times with the average 10%, 30%, 50%, 70% and100%). 

Article Details

ประเภทบทความ
บทความวิจัย

เอกสารอ้างอิง

[1] คมกฤช คารังสี. (2556:บทคัดย่อ). ผลการทดสอบประสิทธิภาพเครื่องเตือนภัยตัดไฟน้ำท่วม  นักศึกษาปริญญาโท สาขา          วิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ      หารศาสตร์
[2] นางสาววาสนา ปัญญาวรรณ (2561: บทคัดย่อ). ระบบเตือนภัยน้ำท่วมและวัดปริมาณฝุ่น    ละอองโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรม  ราชชนนี
[3] นาย ชนะ เกลียงทอง (2561: เกณฑ์การประเมิน). ระบบเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันด้วยเสียง    และไลน์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๑๙ จังหวัดนครศรีธรรมราช
[4] ไพบูลย์ บุบผา (2561: ผลของการดําเนินงาน). เครื่องวัดและแสดงผลระดับน้ำ สาขาวิชา     วิศวกรรมอิเลกทรอนิกส์และโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต