การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนผลิตภัณฑ์ ของศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ร้านน้ำดื่มพิกุลแก้ว วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุตรดิตถ์
PRODUCT COST-BENEFIT ANALYSIS OF VOCATIONAL COLLEGE BUSINESS INCUBATION CENTER, PIKULKAEW BEVERAGE SHOP, UTTARADIT VOCATIONAL COLLEGE.
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง
การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนผลิตภัณฑ์ ของศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา
ร้านน้ำดื่มพิกุลแก้ว วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุตรดิตถ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลทางการเงิน
ของศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ร้านน้ำดื่มพิกุลแก้ว
วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุตรดิตถ์ 2) วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน
จำแนกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ ของศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ร้านน้ำดื่ม พิกุลแก้ว วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุตรดิตถ์
ผลการวิจัย พบว่า ต้นทุนผลิตภัณฑ์ ไตรมาสที่ 3 มีต้นทุนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 29.47 รองลงมาได้แก่ ไตรมาสที่ 4
คิดเป็นร้อยละ 29.35 และน้อยที่สุดได้แก่ ไตรมาสที่ 1 คิดเป็นร้อยละ
19.4 การวิเคราะห์รายได้ จำแนกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ เมื่อพิจารณาเป็นไตรมาส พบว่า
ไตรมาสที่ 4 มีรายได้สูงสุด
คิดเป็นร้อยละ 29.91 รองลงมาได้แก่ ไตรมาสที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 26.92
และน้อยที่สุดได้แก่ ไตรมาสที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 18.80
การวิเคราะห์อัตราต้นทุนขายต่อรายได้ อัตรากำไรขั้นต้นต่อรายได้ รายได้ต่อปริมาณขาย (หน่วย)
และต้นทุนต่อปริมาณขาย (หน่วย) จำแนกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ งานวิจัยนี้ จึงใช้เป็นแนวทางการบริหารจัดการศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาได้เป็นอย่างดี
To
conduct this research on Product Cost-Benefit Analysis of Vocational College
Business Incubation Center, Pikulkaew Beverage Shop, Uttaradit Vocational
College, Objective 1) Study financial
data Of the incubator for vocational entrepreneurs Pikulkaew Beverage Shop,
Uttaradit Vocational College, 2)
Cost
and return analysis Classified by product group Of the incubator for vocational
entrepreneurs Pikulkaew Beverage Shop, Uttaradit Vocational College. When
considering on each quarter, the results of product cost research revealed that
the third quarter had the highest cost calculated to be 29.47% followed by the
fourth quarter calculated to be 29.35% whereas the first quarter had the lowest
cost calculated to be 19.42%. When
considering on each quarter, the results of benefit analysis classified
by product groups revealed that the fourth quarter had the highest income
calculated to be 29.91% followed by the third quarter calculated to be 26.92%
and the second quarter whereas the first quarter had the lowest income
calculated to be 18.80%. Subsequently, cost rate per revenue, Gross Profit
Margin per revenue, revenue per quantity (unit), and cost per quantity (unit)
were analyzed classified by product groups. As a result, this research could be
applied as the guidelines for managing Vocational College Business Incubation
Center properly.
Article Details
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
เอกสารอ้างอิง
[1] เทิดศักดิ์ ทวีธีระธรรม. (2558). การวิเคราะห์งบการเงินเบื้องต้น.
บริษัท หลักทรัพย์เอเชียพลัส (มหาชน)
จำกัด
[2] อนุรักษ์ ทองสุโขวงศ์. (ม.ป.ป.). ต้นทุนและต้นทุนการผลิต. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม
2562, จากเว็บไซต์: https://home.kku.ac.th/anuton/cost%20accounting
[3] ณปภัช
เรียงแหลม. (2558.) การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงิน ห่วงโซ่อุปทาน และศักยภาพใน
การแข่งขันของเกษตรกรผู้ทำสวนองุ่นพันธุ์ไวท์มะละกา ในอำเภอดำเนินสะดวก
จังหวัดราชบุรี. สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[4] พิธาน
แสนภกัด. (2562). การวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนจากการปลูกมะนาวแบบบ่อซีเมนต์กับแบบปลูกลงดิน
ของเกษตรกร ตำบลวังลึก อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี.
คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.
คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.
[5] กัญฐณา ดิษฐ์แก้ว, ยพรัตน์
อิ่มพิทักษ์ และกฤษฎา อึ้งทองหล่อ. (2557). การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนผลิตภัณฑ์
หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษา ถั่วทอดสมุนไพร ตำบลน้ำรึม อำเภอเมือง จังหวัดตาก. นักศึกษาสาขาการบัญชี
คณะบริหารธุรกิจและศิลปะศาสตร์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาตาก.