การศึกษาการสร้างแม่พิมพ์ Progressive Die STAY REGULATOR กรณีศึกษา บริษัท เอ็น ที. ออโต้โมล์ จำกัด
Study of Progressive Die Metal Molding STAY REGULATOR Case study of N.T. AUTO MOLD CO.LTD

Main Article Content

ณัฐดนัย พานิชผล,อภิสิทธิ์ ศิริ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแม่พิมพ์โลหะ Progressive Die STAY REGULATOR และหาประสิทธิภาพของแม่พิมพ์โลหะ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้เชี่ยวชาญด้านแม่พิมพ์ จำนาน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยนี้เป็นแบบสอบถามความพึงพอใจมีอยู่ด้วยกัน 2 ด้าน 1) ด้านโครงสร้าง 2) ด้านการใช้งาน สถิติในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าเฉลี่ยแบบมาตรฐาน
  ผลวิจัยพบว่าแม่พิมพ์โลหะ Progressive Die STAY REGULATOR รูปทรงออกมาสวยงามทรง 4 เหลี่ยมผืนผ้าตามมาตรฐาน ขนาดความกว้าง 500 มม. ยาว 585 มม. และมีความสูงรวมทั้งหมด 330 มม. ส่วนประกอบแต่ละชิ้นถูกออกแบบให้ใช้เกรดเหล็กที่เหมาะสมจึงมีความแข็งแรงสูง เมื่อนำแม่พิมพ์ทดลองขึ้นเครื่องปั๊มแล้วปั๊มชิ้นงานเป็นจำนวน 100 ครั้ง ชิ้นงานที่ได้ออกมามีลักษณะที่ตรงตามมาตรฐานที่ลูกค้าต้องการ ความพึงพอใจของผู้ใช้แม่พิมพ์โลหะ Progressive Die STAY REGULATOR โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านโครงสร้าง และ ด้านการใช้งาน อยู่ในระดับ มากที่สุด

This research has a mosquito point to create a metal mold Progressive Die stay REGULATOR. And find the effectiveness of metal mold. The samples used for research are experts of mold. Total 5 persons The tools used in this research are the satisfaction queries with two sides. 1) Structure 2) Use The analysis statistics are:
        The shape is beautiful, a square shape as standard. Width 500 mm. Length 585 mm. And has a total height of 330 mm. Each component is designed to use the appropriate steel grade Therefore has a high strength. When the mold is put on a stamping machine Then pump the workpiece in the amount of 100 times The resulting product has characteristics that meet the standards that customers require. Satisfaction of metal mold Progressive Die STAY REGULATOR users Overall is at the highest level. Considering in each aspect, found that the structure and usage are in the highest level.

Article Details

ประเภทบทความ
บทความวิจัย

เอกสารอ้างอิง

เอกสารอ้างอิง
[1]      นายมงคล กลิ่นน้อย (2561) การสร้างแม่พิมพ์โลหะ Progressive Die Plate A,         สาขาเทคโนโลยีแม่พิมพ์ สถาบันอชีวะภาคเหนือ 3
[2]      นายชาญชัย ทรัพยากร (2543) การออกแบบแม่พิมพ์.กรุงเทพมหานคร:สมาคม ส่งเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
[3]      นายกุลชาติ จุลเพ็ญ, วารุณีเปรมานนท์และพงศ์พันธ์แก้วตาทิพย์ (2547) อิทธิพล        ของการสึกหรอในงานแม่พิมพ์ตัดที่มีผลต่อคุณภาพชิ้นงาน.กรุงเทพมหานคร:        ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาห์ การคณะวิศวกรรมอุตสาห์การศูนย์กลางสถาบัน          เทคโนโลยีราชมงคล
[4]      นายวันชัย ภู่เชิด (2554) การลดผลิตภัณฑ์บกพร่องประเภทครีบในกระบวนการปั๊ม      ขึ้นรูปชิ้นส่วนรถยนต์.วิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี     พระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
[5]      Marakata (2556) แม่พิมพ์โลหะกับการออกแบบ สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2563
          เข้าถึงได้จาก: https://nonsawang-hongsook.blogspot.com/2013/06/blog-      post_18.html?m
[6]      นายธวัช วิวัฒน์เจริญ (2552) การหาช่องห่างของแม่พิมพ์ตัดขาด สืบค้นเมื่อวันที่        5 มกราคม2563 เข้าถึงได้จาก: https://ph01.tci-thaijo.org/index.php /rmutijo/article/v iew/15982
[7]      นางวิทย์วรรณ์ วิจิตร วิทยานิพนธ์ (2547) สืบค้นเมือวันที่ 5 มกราคม 2563/
          เข้าถึงได้จาก: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1713     
[8]      นางสาวสุวิมล เทียกทุม (2558) วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อทำการ ออกแบบสร้าง เข้าถึงได้จาก: https://li01.tci-thaijo.org/indexphp/Ite                    ch /article/view/49028
[9]      Untitled Document.com (2556) แม่พิมพ์ตัดแบบต่อเนื่อง (Progressive die) 
[10]     นายบุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (2546) สถิติวิเคราะห์เพื่อการวิจัย สืบค้นเมื่อวันที่ 5     มีนาคม 2563   เข้าถึงได้จาก: http://www.chulabook.com/description.      asp?barcode=9789746645645
[11]     นายปิยะนุช ขันสาครกิตติ (2548 : 67) แรงจูงใจและความคาดหวังในการศึกษา         ปริญญาโท สาขาสิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนครราชสีมา