การพัฒนา Checking fixture เพื่อลดปัญหาความผิดพลาดในการผลิต
THE DEVELOPMENT CHECKING FIXTURE TO REDUCE PRODUCTION ERRORS
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของ Checking Fixture ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงาน
บริษัท โยสุ ออโต พาร์ท แผนก Tool Ling จำนวน 10 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นแบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ ด้านความเป็นไปได้ในการพัฒนาและความเหมาะสมการพัฒนา
Checking Fixture สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
ในการประมวลผลค่าทางสถิติ ต่าง ๆ
ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนา Checking
fixture พบว่าในการวัดชิ้นงานก่อนการพัฒนา Checking fixture เท่ากับ 70 วินาทีหลังพัฒนาเท่ากับ 44 วินาที ซึ่งค่าเฉลี่ยใช้เวลาในการวัดน้อยลง 26
วินาที สามารถลดเวลาในการวัดชิ้นงานลงได้ดังนั้นการพัฒนา Checking fixture สามารถนำมาใช้งานตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในงานวิจัย
ความเหมาะสมในการพัฒนา
Checking Fixture โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับ
ดีมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านโครงสร้างมีค่าเฉลี่ย
ดีมากและด้านการใช้งาน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก
This
research aims to improve the efficiency of the Checking Fixture The population
used in the research is 10 employees of Yosu Auto Parts, Tool Ling Department The
instruments used in this research were divided into 2 parts:
part 1, questionnaire for development of Checking Fixture,
part 2, questionnaire for appropriateness of Checking
Fixture development The statistics used in data analysis were average,
percentage, standard deviation, t-test and F-test using computer software. In
processing various statistical values.
The results of the research showed
that The appropriateness of the development of Checking Fixture in general and
in all aspects is very good when considered in each aspect. Found that the
structure has average Very good and functional With an average of very good
levels.
The Checking fixture development result
was found to measure the workpiece before the development of Checking fixture
equal to 70 seconds after development equal to 44 seconds, which average takes
time to measure. Less than 26 seconds, it is possible to reduce target
measurement time, so the development of Checking fixture can be used for the
purposes set out in the research.
Article Details
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
เอกสารอ้างอิง
[1] ผ.ศ.
กอบสิน ทวีสิน และ อ.จุลศิริ ศรีงามผ่อง, อุตสาหกรรมเครื่องมือกลและแนวทางการพัฒนา,
การสัมมนาทางวิชาการเรื่องเทคโนโลยีเครื่องมือกลและแม่พิมพ์โลหะ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย:4-6ก.พ. 2528
[2] วชิระ มีทอง,
การออกแบบจิ๊กและฟิกซ์เจอร์, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี
(ไทย-ญี่ปุ่น), กรุงเทพ, พิมพ์ครั้งที่ (26:2555)
[3] อุดม โปษณะเจริญ, ตำราเขียนแบบออกแบบเครื่องมือกล, วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา, (วิทยาเขตนนทบุรี,
นนทบุรี:2521)
[4] เชาว์ คงกัลบ์ และ กิติพงศ์ อิศรานนท์, การสร้างแบบจับงาน, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (วิทยาเขตพระนครเหนือ,กรุงเทพ:2519)
[5] ศุภชัย รมยานนท์,
การออกแบบอุปกรณ์นำเจาะและจับงาน, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (วิทยาเขตเทเวศร์),กรุงเทพ:2539)
[6] อโณทัย กล้าการขาย,บรรเทิง ยานะ,เอกชัย แผ่นทอง,พงศ์วิทย์
พรมสุวรรณ,พรณารายณ์ สมสัตย์ (2556)