ชุดฝึกระบบปรับอากาศรถยนต์
Car air conditioning system training set
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาชุดฝึกระบบปรับอากาศรถยนต์
ทดสอบชุดฝึกระบบปรับอากาศรถยนต์ และใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในวิชาเทคโนโลยีปรับอากาศรถยนต์ ในการหาประสิทธิภาพชุดฝึกระบบปรับอากาศรถยนต์นั้น
มีการประเมินโดยผู้มีประสบการณ์
การปฏิบัติงานด้านการเรียนการสอนซึ่งผู้ประเมินมีทั้งหมด 5 คน
โดยการประเมินตามแบบสอบถามประเมินประสิทธิภาพ แบ่งออกเป็น 3 ตอนคือ ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลส่วนตัวสำหรับผู้เชี่ยวชาญตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 เป็นแบบประเมินผลสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบของชุดฝึกระบบปรับอากาศรถยนต์ ตอนที่ 3 แบบประเมินผลสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านการใช้งาน สรุปได้ว่า
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านการออกแบบชิ้นงานนั้นมีความพึงพอใจในระดับมากซึ่งผลเฉลี่ยเท่ากับ (x=4.28)
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านการใช้งานนั้นมีความพึงพอใจในระดับมากซึ่งผลเฉลี่ยเท่ากับ
(x =4.55)
จึงสรุปได้ว่า การใช้ชุดฝึกระบบปรับอากาศรถยนต์ สามารถนำไปเป็นสื่อการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพตรงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้Abstract
The purpose of this study : To develop car air conditioning training kit
,Test of air conditioning system training kit and
Used as teaching and learning media in
automotive air conditioning technology .To find the efficiency of the car air
conditioning training kit assessed by experienced person , teaching practice and
learning operations. There are 5 assessors by evaluation according to the
questionnaire to assess the efficiency and divided into 3 parts. Part 1 is
personal information for experts to answer the questionnaire. Part
2 is the evaluation form for experts in the design of automotive air
conditioning system training kits. Part 3 evaluation form for experts usability field. It can be concluded that the
results of the data analysis on design of work piece are at high level , average result
equal to (xˉ = 4.28) The usage data analysis results are
satisfied at high level average (xˉ
= 4.55).
Therefore, it can be concluded that the use of car
air conditioning training kit can be used as teaching and learning media in
accordance with the set objectivesArticle Details
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
[1] สวัสดิ์
บุญเถื่อน. งานปรับอากาศรถยนต์.
กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
2012.
[2]
สมเกียรติ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา. เครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : 2557
[3]
กูรู.
2553. หลักการทำงานของเครื่องปรับอากาศ–เครื่องทำความเย็น. [ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=5f57fccd9c26b4f9 (14 พฤษภาคม
2556).
[4]
จำนียร ศิลปะวานิช, หลักและวิธีการสอน.
โรงพิมพ์เจริญรุ่งเรืองพาณิช, 2538.
[5]
วิไลรัตน์ แสงศรี ผ.ศ. จิตวิทยาการสอนวิชาชีพ.
เชียงใหม่ : วิทยาเขตภาคพายัพมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 2548.
[6]
สุรเกียรติ สนิทมาก. หลักและวิธีการสอนเทคนิคศึกษาการเป็นครูช่างอุตสาหกรรม.
ตาก : วิทยา เขตตาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา , 2549
[7]
สุรศักดิ์ ยะกัน. ช่างเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ.
วิทยาลัยสารพัดช่างตาก, 2540
[8]
สุรสิทธิ์ แสนทอน. เอกสารประกอบการสอนหลักและวิธีสอนเทคนิคศึกษา.
แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลังมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ตาก ,
2551
[9]
ผศ. สมนึก ภัทรทิพนยธนี. การวัดผลการศึกษา.
การสินธุ์ :
ประสานการพิมธุ์, 2547.
[10]
รศ. พวงรัศน์
ทวีรัตน์. การสร้างและพัฒนาแบบทดสอบผลสัมฤธิ์. กรุงเทพฯ
:
สำนักงานทดสอบ