การสร้างคู่มือการติดตั้งอุปกรณ์บนเครื่อง CNC Lathe รุ่น HARDINGE GS2000
Creating Equipment Installation Guide on the HARDINGE GS2000 CNC Lathe
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ1) เพื่อการสร้างคู่มือการติดตั้งอุปกรณ์บนเครื่อง CNC Lathe รุ่น HARDINGE GS2000 2)
เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของคู่มือการติดตั้งอุปกรณ์บนเครื่อง CNC
Lathe รุ่น
HARDINGE GS2000 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจการติดตั้งอุปกรณ์บนเครื่อง
CNC Lathe รุ่น HARDINGE GS2000 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้
คือ บุคคลที่ทำหน้าที่ Mtaching Operater ในแผนก CNC-L
ของบริษัท สุทธิพงษ์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เป็นแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้แบ่งออกเป็น 2 ด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหาและสื่อ
และด้านการใช้งาน ค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย พบว่า เวลาการทำงานในการติดตั้งอุปกรณ์บนเครื่อง
CNC
Machining รุ่น HARDINGE GS200 เวลาลดลงทั้งหมด
74 นาที ความพึงพอใจของผู้ใช้อยู่ใน ระดับ มาก โดยภาพรวมเป็นรายด้าน มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ (
= 4.4 , S.D = 0.07 ) ส่วนด้านเนื้อหาและสื่อ
มีระดับความพึงพอใจของผู้ใช้อยู่ใน ระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ (
= 4.23 , S.D = 0.48 ) และด้านการใช้งาน
มีระดับความพึงพอใจอยู่ใน ระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ
(
= 4.28 , S.D = 0.20 )
(
Abstract
This study is intended to 1) to create
a device installation guide on CNC Lathe HARDINGE GS2000 2) to learn the
performance of the device Installation Guide on CNC Lathe version HARDINGE
GS2000 3) to discover the satisfaction of the device installation. On the CNC
LATHE version Hardinge GS2000, the samples used are the individuals acting
mtaching Operater in the Cnc-l Department of the company. The, Ltd., a total of
10 people research tools are a user satisfaction query divided into two sides.
Including the content and media and the usage of statistics, statistical values
used in the analysis of the data are the average and standard deviation values.
Research results showed that the working time to install the device on the CNC
MACHINING model Hardinge GS200 TIME Total reduced 74 minutes, the satisfaction
of the user is much higher, with an average aspect of the total (
= 4.4, S.D =
0.07) Content section and media level, the user's satisfaction is at a much
greater level.
(
4.23 S.D = 0.48) and usage of the satisfaction
level is much higher than the average (
= 4.28, S.D = 0.20)
(
Article Details
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
[1] คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. คู่มือระบบการประกันคุณภาพ ภายใน. 2551.
[2] ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ และคณะ.
กลยุทธ์การสร้างองค์การคุณภาพ. กรุงเทพฯ: ธรรกมลการพิมพ์, 2546.
[3]
วิฑูรย์ สิมะโชคดี. TQM วิธีองค์กรคุณภาพยุค
2000. พิมพ์ครั้งที่ 4 . กรุงเทพจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2542.
[4] วันชัย ริจิรวนิช. 2548. การศึกษาการท
างาน หลักการและกรณีศึกษา. สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ, หน้า 335-380.
[5] สิรินาท ปัทมาวิไล.
ผังแสดงเหตุและผล (Cause And Effect Diagram).(กุมภาพันธ์ 2559).
สืบค้นจาก httpp://www.gotoknow.org/post/ 456573
[6] แสงจันทร์งามสมคุณ. (2549).
Q-IQS-Q10001 คู่มือคุณภาพ UTC (UTC Quality manual). ชลบุรี: บริษัทยูเนียน เทคโนโลยี