ตู้น้ำร้อนน้ำเย็นถังน้ำอยู่ด้านล่าง
Hot and cold water dispenser, water tank at the bottom
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) ออกแบบและสร้างตู้น้ำร้อนน้ำเย็นถังน้ำอยู่ด้านล่าง (2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพตู้น้ำร้อนน้ำเย็นถังน้ำอยู่ด้านล่าง ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ออกแบบและสร้างตู้น้ำร้อนน้ำเย็นถังน้ำอยู่ด้านล่าง
โดยให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินด้านการออกแบบ ด้านการใช้งานและด้านคุณค่า
ส่วนการศึกษาประสิทธิภาพของตู้น้ำร้อนน้ำเย็นถังน้ำอยู่ด้านล่าง
คณะผู้วิจัยได้ทำการทดลองในสภาพจริงโดยการวัดระดับน้ำที่ถูกปั๊มขึ้นใส่ในถังชุดทำความร้อนและเย็น
ผลการการวิจัยพบว่า (1) ตู้น้ำร้อนน้ำเย็นถังมีรูปแบบที่ไม่ต้องใส่ถึงน้ำด้านบนตามปกติ
ถังน้ำจะอยู่ด้านล่างโดยมีมีชุดปั๊มน้ำถูกติดตั้งอยู่สำหรับสูบน้ำขึ้นด้านบน (2) ตู้น้ำร้อนน้ำเย็นถังน้ำอยู่ด้านล่างถูกปั๊มน้ำขึ้นปริมาณละ
1 ลิตรใช้เวลา 1.35 นาที, 2 ลิตรใช้เวลา 2.35 นาที่, 4
ลิตรใช้เวลา 3.40 นาทีและเต็มถังใช้เวลา 4.50 นาที แสดงว่าใช้งานได้เป็นอย่างดี
The objective of this research is to (1) design and build a water tank without
lifting the tank (2) to study the
efficiency of the water tank without lifting the tank The research team has
designed and built a hot and cold water tank without lifting the tank. By having experts assess the design Usability and value As for
the study of the efficiency of the hot and cold water tank without lifting the
tank The research team conducted an experiment in real conditions by measuring
the level of water pumped into a heating and cooling tank.
The results of
the research showed that (1) Hot and
cold water dispensers without lifting tanks have the form that does not need to
be added to the water above as usual. The water tank is at
the bottom, with a water pump set installed for pumping the water up. (2) Hot water dispenser without lifting
the tank is pumped up to 1 liter of water, takes 1.35
minutes, 2 liters is used. Time 2.35
minutes, 4 liters takes 3.40 minutes and a full tank takes
4.50 minutes. This shows that it
works very well.
Article Details
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
เอกสารอ้างอิง
[1] ธิปพล ช้างแย้ม.(2555).การวิเคราะห์สมรรถนะการทำงานของตู้แชที่ใช้สารทำความเย็น. [ออนไลน์].
[2] นพรัตน์ อมัติรัตน์ .(2555).ศึกษาเปรียบเทียบเรื่องน้ำยา.[ออนไลน์].
[3] เฉลิมพล เรืองพัฒนาวิวัฒน์ .(2559). ศึกษาการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงไร้แปรงถ่าน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
[4] Kang. (2550).วัฏจักรทำความเย็น.[ออนไลน์].
[5] Wongwises and
Polsongkramb. (2550).วัฏจักรน้ำยา.[ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก https://www.kmutt.ac.th/rippc/mecha12e.htm