เครื่องกําเนิดแสงสําหรับสอบเทียบเครื่องวัดแสง
Light generator for light meter calibration

Main Article Content

นายสมชาย แสงสว่าง , นางสาวพัณณิตา ปีอาทิตย์

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ออกแบบและสร้างเครื่องกําเนิดแสงสําหรับสอบเทียบ เครื่องวัดแสง 2) หาประสิทธิภาพของเครื่องกําเนิดแสงสําหรับสอบเทียบเครื่องวัดแสง 3) ศึกษาความพึงพอใจ ของผู้ใช้เครื่องมือระหว่าง Standard และ UUC วิธีดำเนินงานคือ 1) ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นในการทำตัวชิ้นงาน 2) การกำหนดประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง 3) การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 4) ทดลองใช้และเก็บ ข้อมูล และ 5) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานสร้างเครื่องกําเนิดแสงสําหรับสอบเทียบเครื่องวัดแสงและ บันทึกผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ พนักงานบริษัท SP Metrology จำนวน 10 ราย เครื่องมือที่ ใช้ในการศึกษาคือ เครื่องกําเนิดแสงสําหรับสอบเทียบเครื่องวัดแสง และ แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ ของพนักงานบริษัท SP Metrology ที่มีต่อชิ้นงาน ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ จากผลทดสอบเครื่องมีประสิทธิภาพเป็นไปตามข้อกำหนดการทดสอบและพนักงานบริษัท SP Metrology จำนวน 10 คน มีความพึงพอใจต่อเครื่องกําเนิดแสงสําหรับสอบเทียบเครื่องวัดแสง จำแนกเป็น หัวข้อต่าง ๆ จากการวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละหัวข้อได้ข้อสรุปดังนี้ เครื่องกําเนิดแสงสําหรับสอบเทียบเครื่อง วัดแสงที่สร้างขึ้น อยู่ในระดับ ดี มีค่าเฉลี่ย ( = 4.21) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.25) เมื่อจำแนก จากระดับของค่าเฉลี่ยได้ดังนี้ หัวข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ หัวข้อที่ 1 ท่านคิดว่าขนาดรูปร่างของเครื่อง มีความเหมาะสมกับการใช้งานอยู่ในระดับใด ( = 4.40) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.70), หัวข้อที่ 2 ท่านคิดว่าวัสดุที่นำมาเป็นโครงสร้างมีความเหมาะสมเพียงใด ( = 4.40) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.84) และ หัวข้อที่ 5 ท่านคิดว่าเครื่องกําเนิดแสงสําหรับสอบเทียบเครื่องวัดแสงมีความปลอดภัยต่อ ผู้ใช้งานอยู่ในระดับใด มีค่าเฉลี่ย ( = 4.40) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.70) และ หัวข้อที่มีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุด คือ หัวข้อที่ 3 ท่านคิดว่าการวางอุปกรณ์ต่าง ๆ ของการควบคุมเหมาะสมเพียงใด ( = 4.00) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.82) และ หัวข้อที่ 7 หลังการทดลองใช้เครื่องกําเนิดแสงสําหรับสอบเทียบ เครื่องวัดแสงท่านมีความพึงพอใจในระดับใด มีค่าเฉลี่ย ( = 4.00) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 1.05)

The objective of this study was to 1) Design and construction of light generators for calibration. Light meter 2) Find the efficiency of the light generator for the calibration of light meter 3) Study the satisfaction of tool users between Standard and UUC. The methods of operation are 1 ) Study basic data 2 ) Determining the population and random sample 3) Creating tools for study 4) Trying and collecting data and 5) Studying the satisfaction of users creating. The light source for calibrating the light meter and recording the results. The samples used in this study are There are 10 SP Metrology staff. The instrument used in this study is Light generator for light meter calibration and the satisfaction assessment questionnaire of SP Metrology staff members towards the workpieceThe study results can be summarized as follows. From the test results, the machine is efficient, meets the testing requirements and 10 SP Metrology employees were satisfied with the light generator for photometer calibration. Classified into various topics From the analysis of each topic data, the conclusions are as follows The light generator for calibrating the light meter that was built at a good level had an average value ( = 4.21), standard deviation (S.D. = 0.25) when classifying from the mean level as follows: The most average topic is topic 1, in which level do you think the machine is suitable for use, topic Average ( = 4.40) standard deviation (S.D. = 0.70) 2. How much do you think the material used for structure is Average ( = 4.40) standard deviation (S.D. = 0.84), and the topic that 5. What level of safety do you think the light meter for photometer calibration has, mean ( = 4.40) standard deviation (S.D. = 0.70) and the topic with the least mean? Or topic 3 . How much do you think the placement of the control equipment is appropriate Average ( = 4 . 0 0) standard deviation (S.D. = 0 . 8 2) and 7. item after the experiment using the light generator for photometer calibration? What satisfaction are you? Average ( = 4.00) standard deviation (S.D. = 1.05)

Article Details

ประเภทบทความ
บทความวิจัย

เอกสารอ้างอิง

[1] บริษัท ไทยเจริญเทค จํากัด. (2558). แสงระดับความเข้มของแสงและปริมาณแสงที่น่าสนใจ. สืบค้น เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2563, จากเว็บไซต์:https://www.chi.co.th/article/article-970.
 [2] บริษัท เทคโนโลยี อินสตรูเมนท์ จำกัด. (2556). งานสอบเทียบ. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2563, จากเว็บไซต์: http://www.tic.co.th/index.php?op=calibrations-index.
 [3] บริษัท แฟลบ เล็บ ไทยแลนด์. (2557). เครื่องวัดความเข้มแสง (Lux Meter). สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2563, จากเว็บไซต์: https://fablabthailand.com/content/luxmeter.
 [4] ไมตรี พงศาปาน. (2551). ความพึงพอใจ. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2563, จากเว็บไซต์: http://maitree3.blogspot.com/2011/03/blog-post.html?m=1