ชุดทดสอบอุปกรณ์ล็อคไฟฟ้า
Electric lock device test set
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบและสร้างชุดทดสอบอุปกรณ์ล็อคไฟฟ้า 2) เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดทดสอบอุปกรณ์ล็อคไฟฟ้า
โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการออกแบบและสร้างวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่าน
จากหน่วยงานธนาคารแห่งประเทศไทย และบริษัทพร้อมเทคโนเซอร์วิส เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ได้แก่ แบบทดสอบหาประสิทธิภาพชุดทดสอบอุปกรณ์ล็อคไฟฟ้า
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า การออกแบบและสร้างชุดทดสอบอุปกรณ์ล็อคไฟฟ้าประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ ด้านความเหมาะสมโดยส่วนรวมมีค่าเฉลี่ย 4.23
อยู่ในระดับ มากที่สุด ด้านความเป็นไปได้โดยส่วนรวมมีค่าเฉลี่ย 4.28 อยู่ในระดับ
มากที่สุด
ผลจาการทดสอบหาประสิทธิภาพชุดทดสอบอุปกรณ์ล็อคไฟฟ้าที่สร้างขึ้นสามารถทดสอบตรวจความถูกต้องในการล็อคไฟฟ้าแบบลงกลอน
(Drop
Bolt) ที่มีสภาพดี จากการทดสอบจำนวน 5 เครื่อง คิดเป็นร้อยละ 90
และทดสอบที่มีสภาพเสีย จากการทดสอบจำนวน 5 เครื่อง คิดเป็น ร้อยละ 92 และผลจาก การทดสอบหาประสิทธิภาพชุดทดสอบอุปกรณ์ล็อคไฟฟ้าที่สร้างขึ้นสามารถทดสอบตรวจความถูกต้องในการล็อคแบบกลอนแม่เหล็กไฟฟ้า
(Magnetic Lock) ที่มีสภาพดี จากการทดสอบจำนวน 5 เครื่อง
คิดเป็นร้อยละ 100 และทดสอบที่มีสภาพเสีย จากการทดสอบจำนวน 5 เครื่อง
คิดเป็นร้อยละ 94
Abstract
The objectives of this research were: 1) to design
and build Electric lock devices test set 2) to determine the
effectiveness of Electric lock device test set. The sample consisted of five
experts from The Bank of Thailand and Prompt Techno Service Company.
The research instruments were composed of Australian Teaching
Method, Learning Achievement Test and Satisfaction Evaluation form. Data were analyzed
using the average by percentage, means and standard
deviation.
The research finding found that the efficiency of Australian Learning Method was 92/94 which
was according to standard criteria 80/80, the students satisfied the Australian
Learning Method at the level of “Most” ( = 4.28)
Article Details
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
เอกสารอ้างอิง
[1]
ณโม ปี่ทอง. (พ.ศ.5257). ระบบการสั่งการเปิดปิดประตูผ่านระบบเครือข่าย.
(Electriccontrol
system network). สาขาวิศวกรรมเครือข่าย.
วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต.
[2] อาทิตย์ อยู่เย็น,พรประสิทธิ์ และ บุญทอง,ศิริเรือง พัฒน์. (พ.ศ.5257). ระบบรักษาความปลอดภัยการเข้า-ออก
สถานที่ด้วยหลักการคลื่นความถี่วิทยุ และ คลื่นถี่อัลตร้าโซนิค.
มหาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
อินเทอร์เน็ต.วิทยาลัยเทคนิคพิษณุโลก. คณะเทคโนโลยีไฟฟ้า
[4] นายไพศาล มามะ และ นายจิตถาวร
ทองมาก.(พ.ศ.2554). ระบบบันทึกข้อมูลผู้ใช้ห้องปฏิบัติการด้วยการ
สแกนลายนิ้วมือ. สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า. คณะวิศวกรรมศาสตร์.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.
[5] สุธรรม จินดาอุดม และ คณะ. (พ.ศ.2552). ระบบควบคุมประตูด้วย RFID ที่เชื่อมต่อผ่านแลนไร้สาย.
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์. คณะวิศวกรรมศาสตร์.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.