อุปกรณ์ขจัดสิ่งกีดขวางท่อปฏิกูลด้วยแรงอัด
Compression barrier pipe elimination equipment

Main Article Content

นายยุทธนา จันทร์เพ็งเพ็ญ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ออกแบบและสร้างอุปกรณ์ขจัดสิ่งกีดขวางท่อปฏิกูลด้วยแรงอัด (2) ศึกษาประสิทธิภาพชุดปืนขจัดสิ่งปฏิกูลควบคุมด้วยแรงลมและหาประสิทธิภาพ ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ออกแบบและสร้างอุปกรณ์ขจัดสิ่งกีดขวางท่อปฏิกูลด้วยแรงอัด โดยให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินด้านการออกแบบ ด้านการใช้งานและด้านคุณค่า ส่วนการศึกษาประสิทธิภาพของอุปกรณ์ขจัดสิ่งกีดขวางท่อปฏิกูลด้วยแรงอัด คณะผู้วิจัยได้ทำการทดลองในสภาพจริงโดยใช้กับอุปกรณ์ ท่อชักโครก ท่อซิงค์ล้างจาน ท่อระบายน้ำทิ้งและโถปัสสาวะด้วยขนาดของแรงลม
                                                                                                 
ผลการการวิจัยพบว่า (1 อุปกรณ์ขจัดสิ่งกีดขวางท่อปฏิกูลด้วยแรงอัด ประกอบไปด้วยชุดปั๊มลม ชุดเก็บลม หัวต่อสำหรับอัดลมเข้าไปในอุปกรณ์ที่ต้องการขจัดสิ่งปฏิกูล  (2 อุปกรณ์ขจัดสิ่งกีดขวางท่อปฏิกูลด้วยแรงอัด สามารถจัดสิ่งปฏิกูลในท่อซิงค์ล้างจานใช้แรงดันลม 3 บาร์   ในท่อชักโครกใช้แรงดันลม 5 บาร์   ในท่อระบายน้ำทิ้งใช้แรงดันลม 4 บาร์และสามารถจัดสิ่งปฏิกูลในโถปัสสาวะใช้แรงดันลม 4 บาร์ แสดงว่าใช้งานได้เป็นอย่างดี

The purposes of the study were to 1) design and create air pressure waste gun, 2) find a quality of device. The research tools were air pressure waste gun and evaluation form of quality. Data were analyzed by mean and standard deviation.
The results found that air pressure waste gun could be operated on 3 bars for toilet pipe, 5 bars for drain pipe and 4 bars for men toilet which referred to usable.

Article Details

ประเภทบทความ
บทความวิจัย

เอกสารอ้างอิง

[1] พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ ( 2557 ) การใช้แอร์ในหน้าร้อนควรรักษาความสะอาดเป็น
      พิเศษกรุงเทพฯ :  คณะสาธารณสุขมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
[2] ภาวิณี ศักดิ์สุนทรศิริ (2550)ระบบการนำความร้อนเหลือทิ้งจากเครื่องปรับ ชลบุรี :
      คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
[3] มนชิต วชิรพรพงศา (2551) ออกแบบและพัฒนาเครื่องวัดประสิทธิภาพของ
      เครื่องปรับอากาศ กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
[4] สมจินต์ พ่วงเจริญชัย (2550) ระบบระบายความร้อนด้วยอากาศเครื่องปรับอากาศ
      กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
[5] สมหวัง ด่านชัยวิจิตร (2553 )เชื้อโรคจากแอร์กรุงเทพฯ : คณะแพทยศาสตร์ศิริราช
      พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.
[6] เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน (2552)[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก  https://ienergyguru.com.(สืบค้นเมื่อ :15กันยายน 2562).
[7] ชนิดเครื่องปรับอากาศ (2555)[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก           
         https://www.tm.mahidol.ac.th/(สืบค้นเมื่อ :16กันยายน 2562).
[8] อุปกรณ์ล้างเครื่องปรับอากาศ (2556)[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก 
         http://www.rs4168.com/(สืบค้นเมื่อ :16กันยายน 2562).